แบรนด์ล่มสลายเมื่อไร้ซึ่งนวัตกรรม (Innovation)

นวัตกรรม (Innovation) ไม่ได้เป็นเพียงแค่ผลิตภัณฑ์ที่หวือหวา หรือเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการนำเสนอสิ่งใหม่ๆที่มีคุณค่า และเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายของคุณอย่างสม่ำเสมอ แบรนด์ที่ล้มเหลวในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ก็อาจมีความเสี่ยงที่จะกลายเป็นแบรนด์ที่ล้าสมัย โดยเฉพาะในโลกแห่งเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา โดยเราได้เห็นความล่มสลายของ Kodak ไปจนถึงการสูญพันธุ์ของ Blockbuster


Brand Localization กลยุทธ์หรือความจำเป็น ที่ต้องเปลี่ยนชื่อแบรนด์ใน Global Market

เมื่อแบรนด์มีการเติบโตและขยายฐานเข้าสู่ตลาดโลก (Global Market) หนึ่งในการเปลี่ยนแปลงที่เราเห็นได้ชัดเจนที่สุด และหลายๆครั้งก็มักจะสร้างความน่าประหลาดใจ ที่อาจเกิดขึ้นกับแบรนด์ ก็คือ “ชื่อของแบรนด์” (Brand Name) ที่บางครั้งก็มีการปรับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนชื่อแบรนด์ทั้งหมดในประเทศอื่นๆ และคำถามที่ตามมา ก็คือ ทำไมแบรนด์ต้องเปลี่ยนชื่อด้วย มันเป็นเพียงแค่ความชอบ การต้องการความแตกต่าง ข้อกำหนดด้านกฎระเบียบ หรือเป็นการเคลื่อนไหวเชิงกลยุทธ์ ที่ได้วางแผนเอาไว้แล้ว


พลังของ Brand Heritage สู่กลยุทธ์สำหรับการตลาดสมัยใหม่

มรดกของแบรนด์ (Brand Heritage) คือ เรื่องราวที่มีความหมายเกี่ยวกับจุดเริ่มต้น (Origin) วิวัฒนาการ (Evolution) คุณค่า (Values) และคุณูปการ (Contribution) ที่ยั่งยืนของแบรนด์ต่อวัฒนธรรม (Culture) ตลาด (Market) หรือสังคม (Society) โดยมรดกนั้นไม่ใช่แค่คำว่า ความเก่าแก่ แต่เป็นการมีรากฐานที่มั่นคง มีความเกี่ยวข้อง และได้รับการเคารพตลอดมา แบรนด์ที่มีมรดกสามารถกระตุ้นอารมณ์ เล่าเรื่องราวจากรุ่นสู่รุ่น


ความแตกต่างระหว่าง Brand Equity vs Brand Values ในมุมของการสื่อสารแบรนด์

สำหรับใครที่เป็นสายแบรนด์และเคยสับสนระหว่างคำว่า Brand Equity และ Brand Values ที่แปลว่า “คุณค่าของแบรนด์” ทั้งคู่ ซึ่งแม้ว่าคำแปลจะดูเหมือนกัน แต่ความหมาย (Meaning) บทบาท (Role) และการใช้งาน (Function) ที่แท้จริงของทั้ง 2 คำนั้นแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง และเพื่อให้เข้าใจและนำคำศัพท์เหล่านี้ไปใช้ในการสร้างแบรนด์ (Branding) ได้อย่างถูกต้อง


7 เทคนิคการบริหารจัดการความประทับใจ (Impression Management) ให้เกิดขึ้นกับแบรนด์

หลักการของการ “ส่งเสริม / โปรโมทตนเอง” ในทฤษฎีการจัดการความประทับใจนั้น มุ่งเน้นไปที่การนำเสนอจุดเด่น และความสามารถของแบรนด์อย่างตรงไปตรงมา โดยจำเป็นต้องมีหลักฐานสนับสนุน การกระทำเช่นนี้จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือ (Credible) และความไว้วางใจ (Trust) จากผู้บริโภค ซึ่งมันก็เปรียบเสมือนบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงทักษะ (Skill) และประสบการณ์จริง (Real Experience) ในการสัมภาษณ์งาน แทนที่จะเพียงแค่พูดคุยโวโอ้อวด


วิธีนำเสนอ Brand Identity แบบมืออาชีพด้วย Impression Management Theory

ทฤษฎีการจัดการความประทับใจ (Impression Management Theory) มีรากฐานมาจากงานของนักสังคมวิทยาชาวแคนาดา-อเมริกัน ที่ชื่อ เออร์วิง กอฟฟ์แมน (Erving Goffman) จากหนังสือ “The Presentation of Self in Everyday Life” ซึ่งถูกตีพิมพ์ในปี 1959 ในหนังสือเล่มนี้ กอฟฟ์แมนนำเสนอแนวคิดเชิงทฤษฎี ที่เปรียบเทียบปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับการแสดงละคร โดยอธิบายว่า บุคคลต่างๆพยายามที่จะสร้างความประทับใจที่ต้องการ ให้กับผู้อื่นในระหว่างการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม แนวคิดเรื่อง “ฉากหน้า” (Frontstage) และ “ฉากหลัง” (Backstage)


อวสานของ Brand Loyalty? เมื่อความภักดีของลูกค้า ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

ในหลายทศวรรษที่ผ่านมา ความภักดีต่อแบรนด์ (Brand Loyalty) ถือเป็นเคล็ดลับแห่งความสำเร็จทางการตลาด ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความไว้วางใจ ความผูกพันทางอารมณ์ และความสัมพันธ์อันยั่งยืนกับลูกค้า แบรนด์ต่างๆ เช่น Coca-Cola, Nike, Apple และ Toyota ได้สร้างอาณาจักรบนรากฐานของแฟนๆที่ภักดี


Sustainable Branding กับวิธีสร้างภาพลักษณ์แบบ Eco-Friendly ให้กับแบรนด์ของคุณ

ในปัจจุบันเราจะเห็นว่าธุรกิจต่างก็มุ่งไปในเรื่องของความยั่งยืน (Sustainability) เนื่องจากแนวโน้มหลายๆอย่างจากทั้งสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงมากขึ้น หลายๆธุรกิจพยายามสร้างแบรนด์ของตัวเองให้กลายเป็นแบรนด์ที่มีภาพลักษณ์แห่งความยั่งยืน (Sustainable Brand) ซึ่งแน่นอนครับว่ามีทั้งความต้องการจะช่วยสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างแท้จริง และการทำเพื่อตามกระแสของความเปลี่ยนแปลง


เจาะลึกโลกของ Fashion Luxury สัญลักษณ์ของความ Prestige และ Exclusivity

แฟชั่นแห่งความหรูหรา (Fashion Luxury) นั้นเป็นมากกว่าเสื้อผ้าชั้นสูง เพราะมันคือสัญลักษณ์ของความเป็นเอกสิทธิ์ (Exclusivity) เกียรติยศ (Prestige) และงานฝีมืออันประณีต (Craftsmanship) คำว่า “แฟชั่นแห่งความหรูหรา” (Fashion Luxury) มีความแตกต่างจาก “แฟชั่นระดับหรู” (Luxury Fashion) ด้วยการเน้นย้ำถึงแนวทางเฉพาะตัว ในเรื่องความเป็นเอกสิทธิ์ (Exclusivity) และการสร้างแบรนด์ (Branding)


copyright 2025@popticles.com
หากท่านต้องการนำเนื้อหาในเว็บไซต์นี้ไปเผยเพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเว็บไซต์