แบรนด์ล่มสลายเมื่อไร้ซึ่งนวัตกรรม (Innovation)

นวัตกรรม (Innovation) ไม่ได้เป็นเพียงแค่ผลิตภัณฑ์ที่หวือหวา หรือเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการนำเสนอสิ่งใหม่ๆที่มีคุณค่า และเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายของคุณอย่างสม่ำเสมอ แบรนด์ที่ล้มเหลวในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ก็อาจมีความเสี่ยงที่จะกลายเป็นแบรนด์ที่ล้าสมัย โดยเฉพาะในโลกแห่งเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา โดยเราได้เห็นความล่มสลายของ Kodak ไปจนถึงการสูญพันธุ์ของ Blockbuster


Brand Localization กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจระดับโลก

Brand Localization ถือเป็นกลยุทธ์อันทรงพลังที่ช่วยให้แบรนด์ระดับโลก เติบโตในตลาดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการปรับแบรนด์ให้เข้ากับท้องถิ่น ตั้งแต่ภาษาและรูปภาพ ไปจนถึงข้อความ ค่านิยม และแม้กระทั่งประสบการณ์ ซึ่งเหมาะกับธุรกิจที่ขยายตัวไปทั่วโลก ที่จะทำให้แบรนด์ยังคงความสอดคล้องกัน และในขณะเดียวกันก็สามารถเข้าถึงผู้บริโภคในท้องถิ่นได้มากขึ้น เรามาเจาะลึกถึง Brand Localization


Co-Creation กลยุทธ์การเปลี่ยนลูกค้าให้กลายเป็น Growth Partners

การร่วมสร้างสรรค์ (Co-Creation) ได้กลายเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดที่ทรงพลัง โดยเฉพาะในยุคที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง เพราะมันช่วยเชื่อมเส้นแบ่งระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ด้วยการทำให้ลูกค้าเข้ามีบทบาทที่มีความหมาย ในการกำหนดรูปแบบผลิตภัณฑ์ บริการ และประสบการณ์ของแบรนด์ ผมจะพาผู้อ่านมาเจาะลึกกันในบทความนี้ครับว่า การร่วมสร้างสรรค์ (Co-Creation)


พลังของ Brand Heritage สู่กลยุทธ์สำหรับการตลาดสมัยใหม่

มรดกของแบรนด์ (Brand Heritage) คือ เรื่องราวที่มีความหมายเกี่ยวกับจุดเริ่มต้น (Origin) วิวัฒนาการ (Evolution) คุณค่า (Values) และคุณูปการ (Contribution) ที่ยั่งยืนของแบรนด์ต่อวัฒนธรรม (Culture) ตลาด (Market) หรือสังคม (Society) โดยมรดกนั้นไม่ใช่แค่คำว่า ความเก่าแก่ แต่เป็นการมีรากฐานที่มั่นคง มีความเกี่ยวข้อง และได้รับการเคารพตลอดมา แบรนด์ที่มีมรดกสามารถกระตุ้นอารมณ์ เล่าเรื่องราวจากรุ่นสู่รุ่น


กลยุทธ์และศาสตร์แห่ง “ข้อแก้ตัว” (Excuses) กับการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส

ในโลกธุรกิจที่เต็มไปด้วยความท้าทายและเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน การเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆไม่ว่าจะเป็นความผิดพลาดในการบริการ ความล่าช้าของการออกผลิตภัณฑ์ หรือแม้แต่ข้อร้องเรียนจากลูกค้า ถือเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก แต่ทว่าในทุกวิกฤตการณ์ก็ย่อมมีสิ่งดีๆ หรือโอกาสซ่อนอยู่ภายใต้คำว่า “ข้อแก้ตัว” (Excuses) ที่หลายๆคนอาจจะงงว่า “ข้อแก้ตัว” หรือ “การขอโทษ”


“Charlotte Effect” ปรากฏการณ์เจ้าหญิงน้อย เมื่อเสื้อผ้าเด็กขายหมดในพริบตา

เมื่อพระราชวังเคนซิงตัน (Kensington Palace) ได้เผยแพร่พระรูป เนื่องในวันคล้ายวันประสูติของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์ (Princess Charlotte of Wales) จะเกิดปรากฎการณ์ 2 สิ่งภายในไม่กี่นาที คือ ช่องทาง Social Media จะเต็มไปด้วยพระรูปและเสื้อผ้าที่พระองค์ทรงสวมใส่ ที่จะหายไปอย่างเงียบเชียบจากเว็บไซต์ของแบรนด์ผู้ค้าปลีกทุกราย ปรากฏการณ์นี้ได้รับการขนานนามว่า “ปรากฏการณ์ชาร์ลอตต์” (Charlotte Effect)


บทบาทระหว่าง PR vs. Marketing กับความชัดเจนในการสื่อสารแบรนด์

ท่ามกลางสภาวะปัจจุบันที่ทุกสิ่งเชื่อมโยงถึงกันอย่างรวดเร็ว ธุรกิจจำเป็นต้องสื่อสารด้วยความกระจ่าง สม่ำเสมอ และน่าเชื่อถือ โดยเบื้องหลังการดำเนินงานนั้น ก็มีอยู่ 2 หน่วยงานหลักๆ คือ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations – PR) และการตลาด (Marketing) ซึ่งต่างก็มีบทบาทในการสื่อสาร (Communicate) สร้างภาพลักษณ์ (Image) และโน้มน้าว (Convince) ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมผู้บริโภค


วางแผนเชิงกลยุทธ์ด้วย 5P Framework ในการเลือกใช้ AI ให้เหมาะสมกับธุรกิจมากที่สุด

ยุคนี้ถือเป็นยุคของ AI ที่หลากหลายธุรกิจได้นำมาปรับใช้ เพื่อให้เข้ากับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ให้มีความรวดเร็วและสร้างประโยชน์มากยิ่งขึ้น แต่ด้วยเครื่องมือและประเภทของ AI ที่มีอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างสรรค์ การสนทนา การสร้างระบบ Agentic AI


ถอดรหัสความล้มเหลวของ Clubhouse จาก Talk of the Town สู่แพลตฟอร์มที่ถูกลืม

หลายๆคนน่าจะรู้จัก Clubhouse ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างดี ซึ่งสร้างกระแสได้ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดการระบาดของ COVID-19 ถึงขนาดมีคนเขียนหนังสือออกมา เกี่ยวกับการสร้าง Influencer บน Clubhouse เลยทีเดียว แต่ผ่านมาระยะเวลาหนึ่ง แอปพลิเคชั่นที่ชื่อ Clubhouse กลับค่อยๆเลือนลางหายไป จนแทบจะจำชื่อไม่ได้แล้วว่าเคยมีอยู่ ในบทความนี้ผมจะมาเจาะลึกการเติบโต


copyright 2025@popticles.com
หากท่านต้องการนำเนื้อหาในเว็บไซต์นี้ไปเผยเพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเว็บไซต์