จิตวิทยาและการตลาดกับ Scarcity Effect เมื่อผู้บริโภครู้สึกถึงความขาดแคลน

ผลกระทบของความขาดแคลน (Scarcity Effect) เป็นหนึ่งในตัวกระตุ้นทางจิตวิทยาที่ทรงพลังที่สุด ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค (Comsumer Behavior) โดยอาศัยหลักการที่ว่าผู้คนจะให้คุณค่ากับสิ่งที่มีอยู่อย่างจำกัดมากกว่าสิ่งที่หาได้ทั่วไป ปรากฏการณ์นี้ก่อให้เกิดความกลัวที่จะพลาดโอกาสหรือ Fear of Missing Out (FOMO) ซึ่งทำให้ผู้บริโภครู้สึกวิตกกังวล เมื่อต้องเผชิญกับโอกาสที่อาจสูญเสียไป ไม่ว่าจะเป็นสินค้า บริการ


จิตวิทยาและการตลาดกับ Paradox of Choice เมื่อลูกค้ามีตัวเลือกมากจนงง

คุณเคยรู้สึกไหมครับว่าการมีตัวเลือกเยอะแยะมากมายให้เลือกซื้อ กลับทำให้เรายิ่งตัดสินใจยากขึ้น ความรู้สึกนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรเลย เพราะมันคือผลกระทบจากสิ่งที่เรียกว่า Paradox of Choice หรือ “ปรากฏการณ์ทางเลือกที่มากเกินไป” ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคแบบหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่อาจทำให้เกิดความไม่พึงพอใจมากขึ้น เราจะมาเรียนรู้กับปรากฎการณ์นี้ครับว่า ทำไมการมีตัวเลือกมากเกินไปถึงทำให้ลูกค้าตัดสินใจยากขึ้น


จิตวิทยาและการตลาดกับ Anchoring Bias เมื่อความคิดแรกมักกำหนดการตัดสินใจซื้อ

เรามักจะถูกกระหน่ำด้วยข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลา และจิตใจของเรามักใช้ทางลัดเพื่อประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยหนึ่งในทางลัดทางความคิดดังกล่าว ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเลือกสินค้าของเรา คือ “อคติจากการยึดติด (Anchoring Bias)” นั่นเองครับ และในบทความนี้เราจะมาเจาะลึกว่า อคติจากการยึดติด (Anchoring Bias) คืออะไร และมันส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อของเราอย่างไร


จิตวิทยาและการตลาดกับ Availability Heuristic เมื่ออคติจากความคุ้นเคยทำให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น

การตัดสินใจของมนุษย์ไม่ได้เกิดขึ้นในแบบสุ่มหรือไร้รูปแบบ แต่มันมีโครงสร้างที่ซับซ้อนภายใต้กระบวนการคิดที่แตกต่างกัน และมันก็มีอยู่หนึ่งทฤษฎีที่ชื่อ Dual-System Thinking ได้อธิบายถึงระบบความคิด 2 ระบบ ที่อธิบายว่ามนุษย์มีวิธีการคิดหลักๅอยู่ 2 แบบ ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจทั้งในชีวิตประจำวันและพฤติกรรมการบริโภค เรามาเรียนรู้ระบบเหล่านี้กันครับว่ามันคืออะไร ทำงานอย่างไร


จิตวิทยาและการตลาดกับ Fast Thinking และ Slow Thinking เพื่อสร้างกลยุทธ์การตลาดที่โดนใจ

การตัดสินใจของมนุษย์ไม่ได้เกิดขึ้นโดยไร้รูปแบบ แต่มันมีโครงสร้างที่ซับซ้อนภายใต้กระบวนการคิดที่แตกต่างกัน และมันก็มีอยู่หนึ่งทฤษฎีที่ชื่อ Dual-System Thinking ได้อธิบายถึงระบบความคิด 2 ระบบ ที่อธิบายว่ามนุษย์มีวิธีการคิดหลักๆอยู่ 2 แบบ ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจทั้งในชีวิตประจำวันและพฤติกรรมการบริโภค เรามาเรียนรู้ระบบเหล่านี้กันครับว่ามันคืออะไร ทำงานอย่างไร


จิตวิทยาในการสร้างคุณค่าให้กับแบรนด์

การสร้างคุณค่าให้กับแบรนด์ถือเป็นภาระกิจสำคัญที่กลายเป็นส่วนหนึ่งของการตลาดไปแบบขาดไม่ได้ และมันส่งผลให้กับการเติบโตของธุรกิจซึ่งมันเป็นมากกว่าการมีสินค้าที่ดีและบริการที่น่าประทับใจ แต่มันคือการรับรู้ถึงคุณค่าที่แบรนด์มอบให้ที่กลายเป็นตัวตัดสินความสำเร็จให้กับธุรกิจ


ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs)

ทฤษฎีที่โด่งดังทางด้านจิตวิทยาที่เกี่ยวกับแรงจูงใจของมนุษย์ (Motivation) กับแนวคิดที่เกี่ยวกับลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs) ได้ถูกตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปีค.ศ. 1943 ในเอกสารที่ชื่อทฤษฎีแรงจูงใจของมนุษย์ (A Theory of Human Motivation) โดยเรามักจะคุ้นหูในชื่อว่า “ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์” (Maslow’s Hierarchy of Needs)


copyright 2025@popticles.com
หากท่านต้องการนำเนื้อหาในเว็บไซต์นี้ไปเผยเพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเว็บไซต์