จิตวิทยาและการตลาดกับ The IKEA Effect เมื่อสิ่งที่เราลงมือทำเองดูมีค่ามากขึ้น

ทำไมบางครั้งเราถึงได้รักสิ่งที่เราทุ่มเทสร้างขึ้นมา แม้ว่ามันอาจจะไม่สมบูรณ์แบบก็ตาม ความผูกพันทางอารมณ์นี้สามารถอธิบายได้ด้วย “ปรากฏการณ์อิเกีย” (The IKEA Effect) ซึ่งเป็นหนึ่งในอคติทางพฤติกรรม ที่ทำให้ผู้คนให้คุณค่ากับผลิตภัณฑ์ที่พวกเขาสร้างขึ้นเองบางส่วนสูงกว่า ปรากฏการณ์นี้ตั้งชื่อตามบริษัทชื่อดังอย่าง IKEA ซึ่งจำหน่ายเฟอร์นิเจอร์ที่ประกอบเองได้ ที่แสดงให้เห็นแล้วว่าความพยายาม


จิตวิทยาและการตลาดกับ Anxiety and Uncertainty เมื่อความกังวลใจส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า

คุณเคย “ลังเล” ก่อนที่จะกดปุ่ม “ซื้อเลย” บ้างไหม ทั้งๆที่คุณเองก็ต้องการสินค้านั้นเป็นอย่างมาก หรือบางครั้งก็ดันเปลี่ยนใจในช่วงตอนกำลังจะชำระเงิน ทั้งๆที่คุณเองก็ใช้เวลาเปรียบเทียบและดูรีวิวมานาน ซึ่งมันเป็นความรู้สึกตึงเครียดที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง ที่ไม่ใช่ความตึงเครียดในเรื่องของราคาหรือคุณค่า แต่เป็นเรื่องของ “ความกังวล” (Anxiety) และ “ความไม่แน่นอน” (Uncertainty)


จิตวิทยาและการตลาดกับ The Halo Effect เมื่อ First Impression ทำให้ทุกอย่างดีไปหมด

ปรากฏการณ์ฮาโล (The Halo Effect) เป็นหนึ่งในอคติทางความคิดที่ทรงพลัง ซึ่งความประทับใจโดยรวมของบุคคลที่มีต่อบุคคลอื่น แบรนด์ บริษัท หรือผลิตภัณฑ์หนึ่ง จะมีอิทธิพลต่อความรู้สึกและความคิดของพวกเขา ที่เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น และโดยพื้นฐานแล้ว เมื่อเรามองเห็นคุณสมบัติหนึ่งในเชิงบวก เราก็มักจะมองเห็นทุกสิ่งทุกอย่าง ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นในเชิงบวกเช่นกัน


จิตวิทยาและการตลาดกับ Fear-Based Marketing ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า

การตลาดที่ขับเคลื่อนด้วยความกลัว (Fear-Based Marketing) ถือเป็นการใช้ประโยชน์จากตัวกระตุ้นทางจิตวิทยา เพื่อโน้มน้าวพฤติกรรมผู้บริโภคด้วยการสร้างความเร่งด่วน (Urgency) ความขาดแคลน (Scarcity) และความรู้สึกของการสูญเสีย (Fear of Missing Out) ที่อาจเกิดขึ้น ธุรกิจต่างๆนั้นประสบความสำเร็จในการใช้กลยุทธ์


จิตวิทยาและการตลาดกับ Bandwagon Effect เมื่อผู้คนซื้อเพราะ “ใครๆเขาก็ซื้อกัน”

มนุษย์เป็นสัตว์สังคมโดยธรรมชาติ พฤติกรรมของเรามักจะถูกกำหนดโดยสิ่งที่ผู้อื่นทำอยู่ และหนึ่งในแนวคิดที่สนับสนุนพฤติกรรมนี้ ก็คือ Bandwagon Effect ที่เป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยา ที่ผู้คนมีแนวโน้มที่จะรับเอาพฤติกรรม (Behavior) ทัศนคติ (Attitude) หรือความเชื่อ (Beliefs) ไปเองเนื่องจากผู้อื่นทำเช่นนั้น ที่ขึ้นอยู่กับอิทธิพลทางสังคม และในโลกของการตลาด


จิตวิทยาและการตลาดกับพลังของ Social Proof เมื่อความไว้วางใจผลักดันให้เกิดยอดขายสินค้า

หลักฐานทางสังคม (Social Proof) คือ ปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาและสังคม ที่ผู้คนเลียนแบบการกระทำของผู้อื่น เพื่อพยายามสะท้อนพฤติกรรมที่ถูกต้องในสถานการณ์เฉพาะที่เกิดขึ้น ซึ่งก็คือแนวคิดที่ว่าผู้คนมีแนวโน้มที่จะทำบางสิ่งมากขึ้น หากพวกเขาเห็นคนอื่นๆทำสิ่งนั้น แนวคิดนี้มีรากฐานมาจากความจริงที่ว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และหลีกเลี่ยงการถูกปฏิเสธจากสังคม


กลยุทธ์การตลาดด้วย Limited-Time Offer เพื่อเพิ่มยอดขายด้วยความเร่งด่วน

ในโลกที่ผู้บริโภคถูกรายล้อมไปด้วยแบรนด์และผลิตภัณฑ์มากมาย ทำให้ธุรกิจต่างๆยากที่จะดึงดูดความสนใจและกระตุ้นยอดขายได้อย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังมีหนึ่งในวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการสร้างความโดดเด่นและสร้างความเร่งด่วน คือ กลยุทธ์การใช้ข้อเสนอแบบจำกัดเวลา (Limited-Time Offers หรือ LTOs) ข้อเสนอที่มีระยะเวลาจำกัดเหล่านี้ใช้ประโยชน์จากจิตวิทยาของผู้บริโภค โดยอาศัยความกลัวที่จะพลาดโอกาสหรือ Fear of Missing Out (FOMO)


จิตวิทยาและการตลาดด้วย Science of Happiness กับ Dopamine สารที่ช่วยกระตุ้นพฤติกรรมการซื้อ

เคยสังเกตไหมครับว่าทำไมหลายๆคนถึงตื่นเต้นกับการช้อปปิ้ง เกิดความรู้สึกโหยหาแบรนด์ที่โปรดปราน หรือรู้สึกถึงความสุขทางอารมณ์เมื่อทำการซื้อสินค้าอะไรบางอย่าง คำตอบของความรู้สึกนี้อยู่ที่เคมีในสมองที่ชื่อ “โดพามีน” (Dopamine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่เชื่อมโยงถึงความสุข (Happiness) ความพึงพอใจ (Pleasure) จากการได้รับรางวัลบางอย่าง (Reward) และหากนักการตลาดที่เข้าใจบทบาทของ “โดพามีน” (Dopamine)


จิตวิทยาและการตลาดกับ Scarcity Effect เมื่อผู้บริโภครู้สึกถึงความขาดแคลน

ผลกระทบของความขาดแคลน (Scarcity Effect) เป็นหนึ่งในตัวกระตุ้นทางจิตวิทยาที่ทรงพลังที่สุด ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค (Comsumer Behavior) โดยอาศัยหลักการที่ว่าผู้คนจะให้คุณค่ากับสิ่งที่มีอยู่อย่างจำกัดมากกว่าสิ่งที่หาได้ทั่วไป ปรากฏการณ์นี้ก่อให้เกิดความกลัวที่จะพลาดโอกาสหรือ Fear of Missing Out (FOMO) ซึ่งทำให้ผู้บริโภครู้สึกวิตกกังวล เมื่อต้องเผชิญกับโอกาสที่อาจสูญเสียไป ไม่ว่าจะเป็นสินค้า บริการ


จิตวิทยาและการตลาดกับ Paradox of Choice เมื่อลูกค้ามีตัวเลือกมากจนงง

คุณเคยรู้สึกไหมครับว่าการมีตัวเลือกเยอะแยะมากมายให้เลือกซื้อ กลับทำให้เรายิ่งตัดสินใจยากขึ้น ความรู้สึกนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรเลย เพราะมันคือผลกระทบจากสิ่งที่เรียกว่า Paradox of Choice หรือ “ปรากฏการณ์ทางเลือกที่มากเกินไป” ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคแบบหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่อาจทำให้เกิดความไม่พึงพอใจมากขึ้น เราจะมาเรียนรู้กับปรากฎการณ์นี้ครับว่า ทำไมการมีตัวเลือกมากเกินไปถึงทำให้ลูกค้าตัดสินใจยากขึ้น


copyright 2025@popticles.com
หากท่านต้องการนำเนื้อหาในเว็บไซต์นี้ไปเผยเพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเว็บไซต์