ความแตกต่างระหว่าง Brand Positioning กับ Product Positioning

การวางตำแหน่งแบรนด์ (Brand Positioning) และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (Product Positioning) ได้กลายเป็นเครื่องมืออันทรงพลังที่ช่วยขับเคลื่อนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จได้ การวางตำแหน่งทั้ง 2 แบบ แม้ว่ามักถูกใช้แทนกันได้ในหลายๆกรณี


Case Study: กลยุทธ์การตลาดของ The Body Shop

The Body Shop แบรนด์ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว เครื่องสำอางค์และน้ำหอม ถือกำเนิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษในปี 1976 โดยผู้ก่อตั้งที่ชื่อ Dame Anita Roddick ที่เธอได้เริ่มธุรกิจเป็นร้านค้าเล็กๆในเมืองไบรตัน (Brighton) กับผลิตภัณฑ์แค่ 25 ชิ้นเท่านั้นและได้ขยับขยายไปสู่แบรนด์ระดับโลกที่มีมูลค่ามากกว่า 800 ล้านปอนด์ และมีสาขาอยู่ใน 66 ประเทศทั่วโลก


3 สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงในการวาง Brand Positioning Strategy

กลยุทธ์การวางตำแหน่งของแบรนด์ (Brand Positioning Strategy) ให้เกิดประสิทธิภาพเพื่อนำไปสู่การสร้างแบรนด์ที่แข็งแกร่ง จำเป็นต้องคำนึงถึงส่วนประกอบสำคัญเพื่อใช้ดึงดูดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้มองเห็นภาพว่าแบรนด์นั้นๆมีจุดมุ่งหมายอะไร แบรนด์ต้องการนำเสนออะไร และตัวของแบรนด์เองนั้นอยากให้ลูกค้ามองแบรนด์ว่าเป็นอย่างไรรู้สึกกับแบรนด์อย่างไร โดย 3 สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงนั่นก็คือ กรอบอ้างอิง (Frame of Reference) จุดที่แตกต่าง (Point of Difference) และ เหตุผลที่จำเป็นต้องเชื่อ (Reasons to Believe)


วิธีเขียน Positioning Statement ที่ถูกต้อง

Positioning Statement คือ ข้อความที่ระบุถึงตำแหน่งของแบรนด์หรือธุรกิจของคุณ เป็นผลรวมกลยุทธ์ที่นำมาเป็นแนวทางในการวางกลยุทธ์ทางการตลาดและการบริหารจัดการแบรนด์ โดยการเขียน Positioning Statement นั้นถือเป็นเรื่องภายในองค์กรที่ไม่จำเป็นต้องประกาศให้คนทั่วไปได้รับรู้


เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของกลยุทธ์การวาง Brand Positioning ในแต่ละแบบ

กลยุทธ์การวางตำแหน่งของแบรนด์ (Brand Positioning) นั้นมีอยู่หลักๆด้วยกัน 3 ประเภท นั่นก็คือ Functional Positioning ที่เน้นการวางตำแหน่งด้วยคุณลักษณะและคุณสมบัติของสินค้าหรือบริการ Symbolic Positioning ที่เน้นการวางตำแหน่งด้วยการเปรียบเทียบกับสัญลักษณ์


copyright 2024@popticles.com
หากท่านต้องการนำเนื้อหาในเว็บไซต์นี้ไปเผยเพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเว็บไซต์